โดย ชะเอม แก้วคล้าย อดีตข้าราชการนักอักษรศาสตร์ ๙(ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาโบราณ) กรมศิลปากร
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เป็นกษัตริย์มหาราชที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขมรในสมัยโบราณ พระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครองที่ใช้คุณธรรมนำหน้าการทหาร พระองค์เป็นทั้งสถาปนิกนักก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ ผลงานที่แสดงถึงคุณสมบัติของพระองค์ดังกล่าว คือ อาณาเขตการปกครองที่กว้างใหญ่ไพศาล ปราสาทราชวังที่ใหญ่โตมโหฬาร ถนนหนทาง และอาโรคยศาลจำนวนมาก เราทราบเรื่องราวของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จากศิลาจารึกของพระองค์ที่มีคู่กับมหาปราสาทราชวังและอาโรคยศาลต่าง ๆ การศึกษาเนื้อหาจากจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ก็คือ การศึกษาประวัติและผลงานของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ นั่นเอง
จารึกพระเจ้าชัยวรมันที
ชะเอม แก้วคล้าย
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เป็นกษัตริย์มหาราชที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเขมรในสมัยโบราณ
พระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครองที่ใช้คุณธรรมนำหน้าการทหาร พระองค์เป็นทั้งสถาปนิกนัก
ก’อสร้างที่ยิ่งใหญ่ ผลงานที่แสดงถึงคุณสมบัติของพระองค์ดังกล่าว คือ อาณาเขตการปกครอง
ที่กว้างใหญ่ไพศาล ปราสาทราชวังที่ใหญ่โตมโหฬาร ถนนหนทาง และอาโรคยศาลจำนวน
มาก เราทราบเรื่องราวของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จากศิลาจารึกของพระองค์ที่มีคุ่กับมหา
ปราสาทราชวังและอาโรคยศาลต่าง ๆ การศึกษาเนื้อหาจากจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ก็คือ
การศึกษาประวํติและผลงานของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ นั่นเอง ผมได้อ่านแปลศิลาจารึกอาโรคย
ศาลของพระเจ้าชัยวรมัน ที่ ๗ ไว้จำนวน ๔ หลัก และพิมพ์เผยแพร่เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๘ เป็นจารึก
จำนวน ๔ หลักที่พบในประเทศไทย ในขณะนั้น ปัจจุบันจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ที่พบใน
ประเทศไทยมีมากกวา ๑๐ หลัก และที่พบในประเทศกัมพูชาอีก ๑๐ กวาหลัก ถ ้ าให้นำ
ข้อความจากจารึกทุกหลัก ของพระเจ้าชัยวรบันที่ ๗ มาพูด ใช้เวลาทั้งวันก็พูดไม,หมด เพราะ
จารึกหลายหลักใหญ่โตมาก มีความยาวถึง ๒๐๐ กล่า โศลกภาษาสันสกฤต
ตามกรอบกิจกรรมเสวนาบอกล่า “เรื่องนานาสาระจากจารึกพุทธศตวรรษที่ ๑-๘ ที่
พบในประเทศไทย” แต่หัวข้อที่ให้ผมพูด คือ เนื้อหาจากศิลาจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ตามหัวข้อนี้มีส่วนประกอบที่สำคัญ ๒ ประการ ค ื อ ๑ เนื ้ อหาจากศิลาจารึก ๒ พระเจ้า
ซัยวรมันที่ ๗
การพ์งแต,เนื้อหาจารึกออ่างเดียว โดยไม,ทราบประวํติผู้เป็นเจ้าของจารึก ทำให้ขาด
ความสำคัญบางออ่างของจารึกแต่ละหลัก จึงขอแนะนำประวัติของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
เสียล่อน เพราะประวํติของพระองค์ก็เป็นเนื้อหาที่ปรากฏอยูในศิลาจารึกด้วย แต่เป็นศิลาจารึกที่
พบในประเทศเขมร
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เป็นราชโอรสของพระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ ๒ กับพระนางจุฬา
มณี หรือ จุฑาราชมณี ผู้เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าหรรษวรมันที่ ๓ พระองค์ทรงสืบเชื้อสาย
มาจากบุรพกษัตริย์ขอมที่ปกครองราชอาณาจักร ระหล่าง พ.ศ.๑๑๕๐-๑๖๕๐ และทรงเกี่ยว
ดองกับกษัตริย์ขอมสมัยล่อนเมืองพระนคร พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ประสูติราว พ.ศ.๑๖๖๘
(บางตำราล่า พ.ศ. ๑๖๗๐) ในรัชกาลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ พระองค์ได้เสกสมรสกับเจ้า
หญิงชัยราชเทวี ตั้งแต่พระชนมายุยังน้อย พระองค์มีพระเชษฐาคือ พระเจ้ายโศวรมันที่ ๒
ขณะที่ยังเป็นเจ้าชายชัยวรมันอยู, พระองค์ได้นำกองทัพ ออกจากอาณาจักรขอม เพื่อไป
ปราบปรามอาณาจักรขัมปา ณ เมืองวิชัย แต่ยังไม,ทันได้ทำการสํรบกับอาณาจักรจัมปา
พระองค์ก็ได้ทราบข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าธรณีนทรวรบันที่ ๒ ผู้เป็นพระราชบิดา
รวมทั้งได้ทราบข่าวที่พระเจ้ายโศวรมันที่ ๒ ผู้เป็นพระเชษฐาได้ขึ้นครองราชย์สมบัติ และทราบ
ข่าวร้ายว,า มหาอำมาตรตรีภูวนาทิตยะ เป็นกบฏเข้าแยงราชสมบัติ จากพระเจ้ายโศวรมันที่ ๒
พระองค์จึงไต้เสด็จกลับโดยเร็ว เพื่อหวังจะมาช่วยเหลือพระเชษฐา และอ้างสิทธในการสืบต่อ
ราชสมบัติ แต่พระองค์กลับมาไม’ทันเหตุการณ์ เพราะผู้แย่งราชสมบัติได้ปลงพระชนม์พระเจ้า
ยโศวรบันที่ ๒ เสียแอ้ว พระองค์จึงต้องหลบซ่อนตัวอยู่ภายในอาณาจักร เพื่อรวบรวมกำลังพล
รอโอกาสที่กู้ราชบัลลังก์กลับคืนมา ปรากฏว,า พระองค์ต้องใช้ความอดทนในการรอคอยนาน
ถึง ๑๕ ปี
โอกาสของพระองค์ไต้มาถึง เมื ่ อกองทัพจาม หรือจัมปา ไต้มารุกรานเขมรและ
สามารถจับพระเจ้าตรีคุวนาทิตยวรมันปลงพระชนม์ และเข้ายึดเมืองเขมรไว้ได้ เจ้าชายชัยวร
มันทรงคิดว้า โอกาสที่รอคอยของพระองค์ได้มาถึงแล้ว จึงได้นำกองทัพที่ชุ่มสะสมไว้ เข้า
ต่อผู้!กับกองทัพจามอยู่หลายครั้ง เพื่อขับไล,ผู้รุกรานให้ออกไป ครั้งสำคัญที่สุด จนถึงกับสลัก
ภาพการต่อผู้ไว้ที่ฝาผนังระเบียงที่ปราสาทบายน และปราสาทบันทายฉมาร์ คือ ภาพการรบพุง
ทางเรือ จนทำให้อาณาจักรขอมไต้รับชัยชนะ กลับมาเป็นอิสระได้อีกครั้งหนึ่ง เมื่อปราบปราม
ผู้รุกรานได้แล้ว เจ้าชายชัยวรมันก็ทรงปราบดาภิเษกพระองค์เอง ขึ้นเป็นกษัตริย์นามว้า พระ
เจ้าชัยวรมัน(ที่ ๗)
ก’อนที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จะยกทัพเข้าไปรุกรานอาณาชักรจัมปา เพื่อเป็นการล้างแค้น
ที่เคยถูกชัมปามารุกรานมาก’อน พระองค์ได้ปราบปรามพวกกบฏภายในราชอาณาจักรเสียก’อน
คือ เมืองบัลยัง ทางทิศใต้ของจังหวัดพระตะบองในปัจจุบัน โดยโปรดให้เจ้าชายจามนามว้า
วิทยาน้นทนะ ที่ลี้ภัยเช้ามาอาศัยอยูไนอาณาจักรขอม เป็นผู้นำกองทัพไปปราบปรามจนสำเร็จ
พระองค์จึงแต่งตั้งเจ้าชายวิทยามันทนะขึ้นเป็นยุพราช ทั้งประทานทรัพย์สินเงินทองและสิ่ง
เพลิดเพลินมากมายแก’เจ้าชายจำนวนมาก
ต่อมาปี พ.ศ.๑๗๓๓ พระองค์ไต้ทำสัญญาผูกไมตรี กับพระเจ้าหลีเถาโตนแห่ง
อาณาจักรไดเวียด หรือเวียดนาม ซึ่งอยู่ใต้ของอาณาจักรจัมปา เพื่อเตรียมทำศึกสงครามกับ
อาณาจักรจัมปาเพียงด้านเดียว และพระองค์ได้มอบให้ เจ้าชายวิทยานันทนะ เป็นผู้ควบคุม นำ
2
กองทัพบุกเข้ายึดอาณาจักรจัมปาไต้สำเร็จ ทั้งได้ขนย้ายทรัพย์สินเงินทองและพระเทวรูปของ
อาณาจักรจัมปามาไว้ที่อาณาจักรขอมจำนวนมาก การบุกเข้ายึดอาณาจักรจัมปาครั้งนี้ เจ้าชาย
วิทยาทันทนะ ได้เข้ายึดราชธานีของจัมปาคือเมืองวิชัยไว้ได้ ทั้งสามารถจับกษัตริย์จาม หรือจัม
ปา คือ พระเจ้าชัยอินทรวรมัน ส่งไปเป็นเชลยศึกที่อาณาจักรขอมด้วย แล้ว ชายวิทยาทันทนะ
ผู้เป็นแม, ทัพใหญ่ ได้แต่งตั้งให้เจ้าชายอิน ผู้เป็นห้องเขยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ขึ้น
ปกครองเมืองจัมปาแทน โดยใช้พระนามว้า พระเจ้าสุริยชัยวรเทพ ส่วนเจ้าชายวิทยามันทนะ
เอง ได้ไปตั้งอาณาจักรขึ้นใหม’ทางทิศใต้แถบเมืองปาณฑุรังค์ ขึ้นครองราชสมบัติใช้พระนาม
ว้า พระสุริยวรเทพ เพราะเหตุนี้อาณาจักรชัมปาจึงถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนหนึ่ง พระ
เจ้าสุริยชัยวรเทพ ผู้เป็นญาติกับอาณาจักรขอมปกครอง อีกส่วนหนึ่ง มี พระเจ้าสุริยวรเทพ
หรือ เจ้าชายวิทยาทันทนะ เป็นผู้ปกครอง ในฐานะเป็นประเทศราชที่ขึ้นต่ออาณาจักรขอม
ต่อมาเจ้าชายจามอีกพระองค์หนึ่งนามว้า รษุบดี ได้บุกเช้ายึดเมืองวิชัยคืนไต้สำเร็จ ไต้
ขับไล, พระเจ้าสุริยชัยวรมเทพ กลับไปยังอาณาจักรขอม แล้วสถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย
ครองราชย์สมบัตินามว้า พระเจ้าชัยอินทรวรมันที่ ๕ ส่วนพระเจ้าสุริยวรเทพ หรือ เจ้าชาย
วิทยาทันทนะ ซึ่งครองราชย์อยู่ที่เมืองปาณฑุรังค์ เมื่อเห็นว้า จัมปาไต้เป็นเมืองอิสระ ขอมไม,
สามารถทำอะไรจัมปาได้ จึงไต้ประกาศตนเองเป็นอิสระบ้าง ไมขึ้นต่อขอมอีกต่อไป ทั้งได้ยก
ทัพบุกเข้ายึดอาณาชักรจัมปาไว้ได้ ประหารพระเจ้าชัยอินทรวรมันที่ ๕ เสีย รวมอาณาจักรจัม
ปากับเมืองปาณฑุรัง เป็นจัมปาเพียงหนึ่งเดียวเหมือนเดิม
ระหว้าง พ.ศ.๗๓๖ – ๑๗๓๗ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ไต้พยายามปราบปราม
อาณาชักรชัมปาของพระเจ้าสุริยวรเทพ แต่ไม’สำเร็จ จนถึงพ.ศ. ๑๗๔๖ พระปิตุลาของ
พระองค์ คือ พระยุพราชองค์ธนบดีคราม ได้รับอาสายกทัพไปปราบอาณาจักรจัมปาและ
ประสบความสำเร็จ คือสามารถยึดเมืองชัมปาไว้ได้ เพราะพระเจ้าสุริยวรมเทพ หรือ พระเจ้า
วิทยาทันทนะ ไม’สามารถขอความช่วยเหลือจากอาณาจักรไดเวียตได้ จึงต้องหลบหนีและหาย
สาบสูญไป อาณาชักรชัมปาจึงกลายเป็นแคว้นหนึ่งของอาณาจักรขอมอีกครั้ง
แม้พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ยังมีภาระอยู่กับการจัดระเบียบความเรียบร้อยของบ้านเมืองใน
ทิศตะวันออก แตกไม’เป็นอุปสรรคต่อการขยายอำนาจแผขึ้นไปทางทิศเหนือและทิศตะวันตก
ของประเทศ จารึกปราสาทพระขรรค์ ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ พ.ศ.๑๗๓๔ กล’าวว้า “นี้าสรง
ประจำวันของพระองค์ได้มาจากพราหมณ์ เช่น ท่านสุริยภัฏ จากพระราชาแห่งชวา ยวนะ และ
3
พระราชาอีกสององค์แห่งอาณาจักรจัมปา” แสดงให้เห็นว,า เมือง หรือ อาณาจักรเหล่านี้เป็น
ประเทศราชของอาณาจักรขอมด้วย
สมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ พุทธศาสนามหายานเจริญมาก เพราะพระนางชัยราชเทวี
มเหสีของพระองค์เป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา พระนางได้รับความรู้เรื่องศาสนาและ
วิทยาการต่าง ๆ จากพระเชษฐภคินี คือพระนางอินทรเทวี ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ทางต้านพุทธ
ศาสนามหายาน และมีความรู้แตกฉานในภาษาสันสกฤต พระนางเป็นผู้ชักนำให้พระเจ้าชัยวร
มันที่ ๗ ส่งเสริมพระพุทธศาสนาอย,างจริงจัง พระพุทธศาสนามหายานจึงเจริญสูงสุดในยุคนี้
เมื่อพระนางชัยราชเทวีผู้เป็นพระมเหสีสิ้นพระชนม์ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ก็โปรดให้
พระเชษฐภคินีของพระนาง คือ พระนางอินทรเทวี ขึ้นดำรงตำแหน่งที่พระมเหสีแทน พระ
นางอินทรเทวี เป็นผู้ที่มีความรู้ยี่งกว’านักปราชญ์ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ จึงทรงโปรดแต่งตั้งให้
พระนาง เป็นอาจารย์ใหญ’ในวัดทางพระพุทธศาสนา และพระนางไต้สงเคราะห์เด็กสตรืที่
อนาถา มีฐานะยากจน ให้มาบรรพชาเป็นนางชี ได้เล่าเรียนวิชาความรู้ต้านต่าง ๆ รวมทั้ง
วิชาการทางพระพุทธศาสนา พระนางอินทรเทวีได้แต่งบทประพันธ์จารึกปราสาทพิมานอากาศ
เป็นภาษาสันสกฤตได้อย’างถูกต้อง เป็นข้อความสรรเสริญพระขนิษฐภคินีของพระนาง จารึกนี้
ทำให้เราทราบประวิติของพระเจ้าขัยวรมันที่ ๗ ได้เป็นอย’างดี
จากประวัติของพระเจ้าขัยวรมันที่ ๗ ทำให้ทราบว’า พระองค์เป็นบุรุษที่เข้มแข็ง มีความ
อดทน และมีความตั้งใจที่มุงมั่น จึงสามารถฉุดอาณาจักรขอม ให้พ้นจากความหายนะได
สำเร็จ และทำให้อาณาจักรขอมกลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง พระองค์ได้ขยายอาณาเขตการ
ปกครอง ไปทางทิศเหนือถึงเวียงจันทน์ หนองคาย ทางทิศตะวันตกไปถึงกาญจนบุรี
สุพรรณบุรี และเพชรบุรี พระองค์เป็นนักก’อสร้างที่ยี่งใหญ่ พระองค์ไต้ก’อสร้างและบูรณะวัด
ปราสาท อาโรคยาศาล และที่พักคนเดินทางไว้ในราชอาณาจักรของพระองค์จำนวนมาก วัด
ปราสาท และอาโรคยาศาลแต่ละแห่ง จะมีศิลาจารึกบอกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในรัชสมัย
ของพระองค์ เราพบศิลาจารึกของพระเจ้าขัยวรมันที่ ๗ จำนวนมาก ทั้งในดินแดนที่เป็น
ประเทศไทยและประเทศกัมพูชา เช่น
๑ จารึกปราสาทตาเมือนโตจ จังหวัดสุรินทร์
๒ จารึกบ้านปราสาท จังหวัดสุรินทร์
๓ จารึกพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
๔ จารึกด่านประคำ จังหวัดบุรีรัมย์
4
๕ จารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ไม,ทราบที่มา
จารึกบ้านหนองบัว จังหวัดชัยภูมิ
๗ จารึก ร.อ. ๔ ที่จังหวัดร้อยเอ็ด
จารึก ร.อ. ๕ ที่จังหวัดร้อยเอ็ด
๙ จารึกปราสาทหินพิมายหลักที่ ๒
๑๐ จารึกคันฉ่องสัมฤทธ ที่จังหวัดปราจีนบุรี
๑๑ จารึกเชิงเทียนสัมฤทธี๋ ที่จังหวัดปราจีนบุรี
๑๒ จารึกทรายฟอง สาธาณรัฐประชาชนลาว
๑๓ จารึกปราสาทพิมานอากาศ ประเทศกัมพูชา
๑๔ จารึกปราสาทพระขรรค์ ประเทศกัมพูชา
๑๔ จารึกมิเซิน นครจัมปา
๑๖ จารึกปราสาทตาพรหม ประเทศกัมพูชา
๑๗ จารึกวัดโลกุ ประเทศกัมพูชา
๑๘ จารึกตาเก ประเทศกัมพูชา
๑๙ จารึกโคกโรกะ ประเทศกัมพูชา
๒๐ จารึกปราสาทโตร ประเทศกัมพูชา
๒๑ จารึกจรุง ประเทศกัมพูชา
๒๒ จารึกบันทายฉมาร์ ประเทศกัมพูชา
๒๓ จารึกสัมโบร์ ประเทศกัมพูชา
๒๔ จารึกปราสาทลิค ประเทศกัมพูชา
๒๔ จารึกพิมานะกะ ประเทศกัมพูชา
๒๖ ฯลฯ
จารึกปราสาทพระขรรค์ อยูในบริเวณเมืองพระนคร เป็นปราสาทที่ใหญ,โตมาก
เช่นเดียวกับปราสาทตาพรหม พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ สร้างปราสาทพระขรรค์เพื่ออุทิศถวาย
พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ ๒ ผู้เป็นพระราชบิดาของพระองค์ ข้อความจารึกเริ่มด้วยบท
นมัสการพระรัตนตรัย ต,อด้วยคำรำลึกถึงพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และพระนางปรัชญาปาร
มิตา ซึ่งเป็นเสมือนพระมารดาของพระพุทธเจ้า แล้วตามด้วยการบอกกล่าวถึงสายสกุลการ
สืบสันตติวงศ์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ว,า พระเจ้าศรีเศรษฐวรมัน โอรสของพระเจ้าศรุตวร
5
มัน มีพระกนิษฐานามว’า ก้มพุชราชลักษมี เป็นมเหสีของพระเจ้าภววรมัน มีพระราชโอรส
คือ พระเจ้าหรรษวรมัน(ที่ ๓) และพระเจ้าหรรษวรมัน(ที่ ๓)มีพระธิดานามว, า ศรีชยราช
จุฑามณี ต’อมาได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้าศรีธรณีนทรวรมันที่ ๒ มีพระราชบุตร ๒ องค์คือ
พระเจ้ายโศวรมันที่ ๒ กับพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ต’อจากนั้น (บทที่ ๒๗) จารึกได้พรรณนาความสามารถของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ว’า มี
ความสามารถในการสู้รบจนชนะข้าศึกหลายครั้ง พระองค์ได้มอบเมืองหลวงของข้าศึก ซึ่งมีทั้ง
พระราชวังที่สง่างามให้แก’แมทัพนายกองคนสำคัญเป็นผู้ปกครอง เพื่อตอบแทนความดี
ความชอบ ทั้งทรงมอบพระราชธิดา หรือญาติให้อภิเษกสมรสด้วย
บทที่ ๓๒ กล’าวว’า พระองค์ได้สร้างปราสาทในพึ้นทีที่พระองค์เคยชนะข้าศึกด้วยพระขรรค
ชัยศรี เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ จึงตั้งชื่อปราสาทว’า ชัยศรี ตามชื่อของพระขรรค์ แต
คนทั่วไปเรียกตามนามเดิมว’า ปราสาทพระขรรค์
บทที่๓๔-๔๓ กล’าวว’า พระองค์ไต้สร้างพระศรีชยวรเมศวร ซึ่งเป็นรูปของพระบิดา
เพื่ออุทิศพระโพธิสัตวัโลเกศวร รอบ ๆ พระอวโลกิเตศวร ที่ประดิษฐานอยู’ตรงกลาง
ปราสาท พระองค์ได้สร้างพระเทวรูปไว้ ๒๘๓ องค์ คือ พระเทวรูป ๓ องค์ในทิศ
ตะวันออก พระเทวรูป ๓๒ องค์ในทิศใต้ พระเทวรูป ๓๐ องค์ในทิศตะวันตก
และพระเทวรูป ๔๐ องค์ในทิศเหนือ สร้างพระเทวรูปองค์หนึ่งไว้ที่ยุ้งข้าว อยู’รอบ
แท่นบูชา ๑๐ องค์ อยู ่ ท ี ่ ศาลาพัก ๔ องค์ อยู ่ ท ี ่ สถานพยาบาล ๓ องค์ ท ี ่ ประตู
สำคัญทั้ง ๔ ทิศ มีพระเทวรูป ๒๔ องค์ รวมพระเทวรูปทั้งหมด ๔๓๐ องค์ นอกนั้น
เป็นพระเทวรูปที่สร้างไว้ตามเกาะต่างๆจึงรวมเป็นพระเทวรูปทั้งหมด ๕๑๕ องค์
บทที่ ๔๔ – ๑๐๒ จารึกได้บอกชื่อวัตถุสี่งของต่าง ๆ ที่พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงบริจาค
ประจำวัน เพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้า
วัตถุสี่งของ เช่น ข้าวสุก งา ถั่ว เนยเหลว นมข้น นมสด นาผึ้ง นาอ้อย
นามันงา และทั้าผลไม้เป็นต้น
เครื่องใช้อื่น ๆ เช่น เครื่องนุ่งห่ม กำยาน ไม้จันทน์ ยางสน ขี้ผึ้ง เสื้อจีน เสัน
ไหม คนโท เงน ทอง เพชรพลอย สัมฤทธ ชาม เหล็ก ตะกั่ว
สัตว์ เช่น เพะ ม้า วัว
6
ปราสาทพระขรรค์ มีห้องเล็กทั้งหมด ๔๓๙ ห้อง มีประชาชนอาศัย ที่เป็น
อาจารย์ ๑ คน ผู้ช่วยอาจารย์ ๑๕ คน โยคีปฏิบํติธรรม ๓๐๘ คน ฝ่ายไควะมี ๓๙ คน
รวมกับประชาชนอื่น ๆ มีมากถึง ๑,๐๐๐ คน
บทที่ ๑๑๔ – ๑๒๐ จารึกกล่าวว,า พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงสร้างพระรัตนตรัย ส่งไป
ประดิษฐานที่วิหารใน ๒๓ ตำบล เช่น ศรีชยราชธานี ศรีชยันตครี ศรีชัสิงหวดี ศรีชย
วีรวดี ละไว้ทยปุระ สุวรรณปุระ ศัมพูกป๋ฏฏนะ ชยราชบุรี ศรีชยสิงหบุรี ศรีชยวัชร
บุรี ศรีชยสตัมภบุรี ศรีชยราชคีรี ศรีชยวีรบุรี ศรีชยวัชรตี ศรีชยกีรติบุรี ศรีชยเกษม
บุรี ศรีวิชยาทิบุรี ศรีชยสิงหคราม มัธยมครามกะ สมเรนทรครามะ ศรีชยบุรี
วีหาโรตตรกะ ปูราวาส
บทที่ ๑๒๑- ๑๒๗ จารึกกล่าวว,า พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ทรงสร้างพลับพลาที่พัก ๑๐ หลังไว้ริมสระนายโศธระ
ทรงสร้างที่พักคนเดินทาง ๕๗ หลัง ตามเสันทางจากเมืองยโศธรปูระ ไปสู’เมืองจัมปา
ทรงสร้างที่พักคนเดินทาง ๑๗ หลัง จากยโศธรปูระ ไปสู’เมืองพิมาย
ทรงสร้างที่พักคนเดินทาง ๑๔ หลัง จากยโศธรปูระ ไปเมืองต่าง ๆ เช่น ชยวดี
ชยสิงหวดี ชยวีรวดี ชยราชคิริ และที่เสันทางอื่น ๆ อีก จารึกบอกว’า
รวมทั้งสิ้น ๑๒๑ หลัง
ที่พักคนเดินทาง จารึกใช้คำว’า วหฺนิคฤห เป็นภาษาสันสกฤต นักปราชญ์หลายท่าน
แปลต่างกัน แต่อยู’ในความหมายเดียวกัน เช่น แปลว’า เรือนไฟ หรือ เรือนมีไฟ แปลว’า ธรรม
ศาลา บางท่านแปลว’ า บ ้ านมีไฟห้าง ท ี ่พ ั กคนเดินทางบ้าง เร ื อนไฟบ้าง อ ั คนิศาลาบ้าง
เรือนแสงบ้าง ศาลามีไฟบ้าง บ้านมีไฟบ้าง เรือนพักของผู้เดินทางบ้าง ที่พักคนเดินทางบ้าง
และอาคารที่พักบ้าง ทั้งหมดแปลมาจากศัพท์ว’า วหฺนิคฤหะ ทั้งนั้น
บทที่ ๑๗๓-๑๗๕ จารึกกล่าวว’า พระเจ้าชัยวรมันที่๗ได้ทำสี่งที่เป็นกุศลทั้งหมดเพื่อให้พระ
บิดาของพระองค์ข้ามพ้นวัฏสงสาร เพื่อความเสถียรแห่งพระธรรมในอนาคต จึงตรัส
แก’พระราชาในอนาคตวา “ ความสูญเสียบิดามารดานั้นทุกคนไม’สามารถจะลืมไต้ ด้วย
เหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงสร้างกุศลทุกอย’างตามความประสงค์ของท่านทั้งสอง พระราชา
ทั้งหลาย ถ้าต้องการแสดงความกตัญญ ก็จงถนอมรักษาคุณธรรมให้คงอยู’ตลอดไป”
บทที่ ๑๗๙ ซึ่งเป็นบทสุดท้ายจารึกกล่าวว้า พระศรีวีรกุมาร โอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ อีก
พระองค์หนึ่ง เป็นผู้มีการศึกษา และเป็นนักรบ ได้เป็นผู้แต่งบทประพันธ์ในศิลาจารึก
หลักน ๐000
๒.จารึกปราสาทบันทายฉมาร์ อยู’ในกลุ่มปราสาทศรีโสภณ ของกัมพูชา ข้อความจารึก
ได้กล่าวถึงแหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในรัชสมัยของพระเจ้ายโศวรมันที่ ๒ ว,า เมื่อภรตราหู ได้ทรยศ
ทำการกบฏต่อพระเจ้ายโศวรมันที่ ๒ ด้วยการใช้กำลังทหารเข้ายึดพระราชวัง ทหารที่รักษา
พระราชวังพากันหลบหนีเอาตัวรอด เจ้าชายศรีนทรกุมาร โอรสของเจ้าชายชัยวรมันที่ ๗ ได้
ทำการต่อสู้กับทหารกบฏ โดยมีทหารองครักษ์สองคน คือ กัญชักอรชุน กับ สัญชักศรีธรเทวปุ
ระ ไต้ทำการต่อสู้กับพวกกบฏเพื่อช่วยเหลือเจ้าชาย จนตัวเองต้องเสียชีวิตในการต่อสู้ ส่วน
เจ้าชายปลอดภัย ข้อความจารึกสรุปว’า ภายหลังเมื่อปราบพวกกบฏภรตราหูได้ จึงได้มีการ
ประทานความดีความชอบแก’ทหารองครักษ์ทั้งสองให้ดำรงตำแหน่งศรีนฤปสิงหวรมัน ส่วน
บุตรของทหารทั้งสองให้ดำรงตำแหน่งสัญชักแทนบิดาของเขา
เนื้อหาของจารึกไต้กล่าวถึงเจ้าชายศรีนทรวรมันได้เสด็จไปทำศึกสงครามกับจัมปา
แล้วกลับมายึดป้อมปราการที่กษัตริย์จัมปาสร้างไว้บนภูเขาไต้ จารึกบอกว้า เป็นอุบายของ
ทหารจัมปาที่หลอกล่อให้เขมรไปยึดป้อมบนภูเขา เพราะทหารจัมปารอกำลังมาเสริมที่จะเข้าดี
กองกำลังของเจ้าชาย เมื่อกองทหารของเจ้าชายลงจากภูเขาตามทางลาด ก็ถูกกองกำลัง
ทหารจัมปาเข้าล้อมไว้ ข้อความจารึกบอกว้า เจ้าชายที่อยูไนวงล้อมของข้าศึกจึงประกาศแก’
ทหารของพระองค์ว้า “ กัญชักศรีเทวะ กับ กัญชัก ศรีวรทธนะ (คงหมายถึงสัญชักอรชุน
กับกัญชักศรีธรเทวปุระ) ไต้พลีชีพเพื่อป้องกันเจ้าชาย แม้เขาตาย แต่ชื่อเสียงยังปรากฏอยูไน
โลก เจ้าชายไต้จัดพิธีไว้อาลัยและไต้พระราชทานทรัพย์สินแก’ญาติของเขามากมาย พวกเขา
เป็นตัวอย’างทหารในการปกป้องกัมพูชามิให้ตกเป็นของช้าศึก” เป็นข้อความสร้างกำลังใจ
ทหารให้ทำการต่อสู้ตามแบบอย’างของวีรชนรุ่นพี่ และเจ้าชายศรีนทรวรมัน ก็น่าจะเสียชีวิต
ในการสู้รบครั้งนี้เอง
ป้องกันราชบัลลังก์และบุคคลสำคัญของชาติ ทั้งได้กล่าวถึงการสร้างเทวรูปของเจ้าชายพระ
ศรีนทรกุมารไว้ที่ท่ามกลางปราสาทและสร้างเทวรูปของกัญชักทั้ง ๔(บิดา ๒ ลูก ๒)ไว้ที่
๔ มุมของประสาทบันทายฉมาร์ ซึ่งยังปรากฏอยู’ทุกวันนี้
8
๓ จารึกอาไรคยศาล ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๓) ในประเทศไทยมี ๑๐ กวาหลัก ทั้งที่
สมบูรณ์และไม,สมบูรณ์ ถ้าเป็นศิลาจารึกที่เกี่ยวกับการสร้างอาโรคยศาล เพื่อรักษาโรคที่กำลัง
ระบาด ขนาดของหลักศิลาจารึกมีความสูงใหญ่ใกล้เคียงกัน จะมีข้อความเหมือนกัน ต่างกัน
เฉพาะจำนวนวัตถุสี่งของที่มอบให้แก,อาโรคยศาล และเจ้าหน้าที่ประจำอาโรคยศาลเท่านั้น
ส่วนจารึกอื่น ๆ เป็นการถวายวัตถุสิ่งของแก’คาสนสถานนั้น ๆ จารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
ที่พบประเทศไทยปัจจุบันเท่าที่ทราบคือ
๑ จารึกปราสาทตาเมือนโตจ จังหวัดสุรินทร์
๒ จารึกบ้านปราสาท ชังหวัดสุรินทร์
๓ จารึกพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
๔ จารึกด่านประคำ จังหวัดบุรีรัมย์
๕ จารึกที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ ไม’ทราบที่มา
๖ จารึกบ้านหนองบัว จังหวัดชัยภูมิ
๗ จารึก ร.อ. ๔ ที่จังหวัดร้อยเอ็ด
๘ จารึก ร.อ. ๕ ที่จังหวัดร้อยเอ็ด
๙ จารึกปราสาทหินพิมายหลักที่ ๒
๑๐ จารึกคันฉ่องสัมฤทธื้ ที่จังหวัดปราจีนบุรี
๑๑ จารึกเชิงเทียนสัมฤทธึ๋ ที่จังหวัดปราจีนบุรี
๑๒ และจารึกอาโรคยาศาลที่ชำรุดเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยอีกจำนวนมาก
เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ คือการเกิดโรคระบาดอย’างร้ายแรง
ประชาชนได้รับความเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก ดังข้อความจารึกที่อาโรคยศาลของพระองค
ทุกหลักว’า “ โรคทางกายของประชาชนนี้ เปีนโรคทางจิฅที่เจ็บปวดยิ่ง (ของพระองค์) เพราะ
ความทุกข์ของราษฎร แม้มิใช่ความทุกข์ของพระองค์ แต่เปีนความทุกข์ของเจ้าเมือง” เมื่อ
พระองค์เป็นเจ้าเมืองจึงไม’อาจทนเห็นความทุกข์ร้อนของประชนไต้ พระองค์จึงสร้างอาโรคย
ศาลขึ้นทั่วประเทศเพื่อต่อสักับโรคที่กำลังระบาด คำวา อาโรคยศาล หรือสถานพยาบาล มีมาก
ถึง ๑๐๒ แห่ง มีศิลาจารึกคู่กับอาโรคยศาลเกือบทุกแห่ง และข้อความจารึกเกือบเหมือนกันทุก
ประการ คือเรี่มต้นด้วยบทนมัสการพระพุทธเจ้าในตรีกายคือ พระธรรมกาย พระสัมโภคกาย
และ พระนิรมานกาย แล้วกล่าวถึงคุณสมบัติของพระไภษัชยคุรุโพธิสัตว์ พระสูรยไวโรจนะ
โพธิสัตว์ และพระจันทรไวโรจนะโพธิสัตว์ ว’าผู้เอ่ยนามของห่านก็สามารถหายจากโรคได้
9
ต,อมาข้อความจารึกกล่าวถึง ภารกิจการปราบโรคระบาดของพระเจ้าชัยวรมันที ๗
ด้วยการระดมหมอผู้เชี่ยวชาญในการใช้ยา เช่นเดียวกับกองทัพต้องใช้ทหารกล้าปราบข้าศึก
พระองค์จึงสร้างอาโรคยศาล และสุกตาลัย คืออาการที่ประดิษฐานพระโพธิสัตว์ทั้งสาม เพื่อ
สร้างความสุขให้แก,ประชาชน หลังจากไต้รับความทุกข์ความเดือดร้อน จากการช่วยกันทำ
สงครามปราบข้าศึก ทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ ทั้งยังมีกรรมซาเติมด้วยโรคระบาด
ซึ่งจารึกกล่าวเปรียบเทียบว,า เหมือนกลียุค พระองค์จะแก้ไขทุกอย,างให้สงบเพื่อคืนความสุข
ให้แก’ประชาชน
ต’อมาจารึกกล่าวถึง จำนวนบุคลากรประจำอาโรคยศาลแต่ละแห่ง เช่น
๑ หมอ ๒ พยาบาล
๑) ผู้ช่วยพยาบาล ๔ เจ้าหน้าที่ธุรการ
2, 37^37 37 37
๕ เจาหน้าทีตมยา ๖ เจาหน้าทีจ่ายยา
^
๗ เจาหน้าทีเบกยา ๘ เจาหน้าทีส่งยา
๙ เจ้าหน้าที่จ่ายสลาก ๑๐ เช้าหน้าที่ให้สถิติ
๑๑ เจ้าหน้าที่ทำบัตร ๑๒ เจ้าหน้าที่โม่เภสัช
๑๑) เจาหน้าทตาขาว ๑๕ เจาหน้าทีหุงตม
๑๕ เจ้าหน้าที่หาทืเน ๑๖ เจ้าหน้าที่ตักนํ้า
๑๗ เจ้าหน้าที่รับข้าวเปลือก ๑๘ เจ้าหน้าที่รักษาทรัพย์
๑๙ เจ้าหน้ารับพืเน ๒๐ เจ้าหน้าที่ทำความสะอาด
๒๑ เจ้าหน้าที่ดูแลอาโรคยศาล ๒๒ เจ้าหน้าที่หาดอกไม้
๒๑) เจ้าหน้าที่จัดพลีทาน ๒๕ เจ้าหน้าที่ประกอบพิธีบูชายัญ
๒๕ และพระโหราจารย์
รวมท^1ไต้ระบุชื่อสมุนไพร ที่ใช้เป็นยาประจำอาโรคยศาลแต่ละแห่ง จำนวนสี่งของ
เครื่องยา เครื่องใช้ และ จำนวนหมอ เจ้าหน้าที่แต่ละอาโรคยศาลแตกต่างกัน น่าจะขึ้นอยู’กับ
อาโรคยศาลที่ใหญ’เล็กกวากัน จึงเปรียบเทียบจำนวนบุคลากรที่แตกต่างระหวางอาโรคยศาลจาก
จารึกบ้านปราสาท จารึกด่านประคำ และจารึกเมียนโตจ ดังนี้
10
ตารางเปรียบเทียบหมอและเจาหนัาที่ประจำอาโรคยศาล
ที่ เจ้าหน้าที่ จารึกบาน
ปราสาท
จารึกด่าน
ประคำ
จารึกตา
เมือนโตจ
๑ เจ้าหน้าที่ดูแลสถานพยาบาล
๒ หมอประจำสถานพยาบาล
๓ เจ้าหน้าที่ให้สถิติ
๔ เจ้าหน้าที่รักษาทรัพย์รับข้าวเปลือก รับฟืน จ,ายยา
๕ เจ้าหน้าที่หุงต้ม จ่ายยา หาดอกไม้มาบูชา ทำความสะอาด
๕ เจ้าหน้าที่ทำบัตร จัดพลีทาน จ’ายสลาก หาฟืนต้มยา
๖ เจาหนาที่เดินส่งยาแก’หมอ ดูแลสถานพยาบาล
๗ เจ้าหน้าที่ให้สถิติ (เพิ่มอีก)
๘ เจ้าหน้าที่โม’เภสัช
๙ เจาหน้าที่ตำขาว
๑๐ เจ้าหน้าที่ให้สถิติประจำวัน
๑๑ เจ้าหน้าที่ประกอบพิธีบูชายัญ
๑๒ โหราจารย์
๑๓ รวมบุรุษ
รวมสตรี
๑๔ รวมทั้งบุรุษและสตรี
๔
๒
บุรุษ ๑
สตรี ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๑๔
บุรุษ ๑
สตรี ๑
สตรี ๖
สตรี ๒
สตรี ๒
๒
๑
๓๒
๙๘
๔
๒
บุรุษ ๑
สตรี ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๒
บุรุษ ๑๔
บุรุษ ๑
สตรี ๑
สตรี ๖
ชำรุด
ชำรุด
ชำรุด
ชำรุด
ชำรุด
ชำรุด
๔
๒
บุรุษ ๑
สตรี ๒
ชำรุด
บุรุษ ๒
ชำรุด
ชำรุด
บุรุษและ
สตรี ๑๐
คน
บุรุษ ๑
สตรี ๓
สตรี ๒
สตรี ๔
๒๔
๒๖
๓๐
11
ตารางเปรียบเทียบสมุนไพร
ที่ ชื่อสมุนไพร จารึกบ้านปราสาท จารึกตาเมือนโตจ มาตราวัด ตวง
๑ ผลตำลึง – ๓ ผล
๒
๓
๔
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๓)
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
กฤษณา
ขี้ผึ้ง
เทียนขี้ผึ้ง
นาผึ้ง
นามัน
เนยใส
ข้าวบาลีย์
ดีปลีผง
บุนนาค
จันทน์เทศ
การบูร
ผลกระวานเล็ก
กำยาน
เกลือ
มหาหิงคุ
ถั่วฝักยาว
นาตาลกรวด
ตัวเหลือบ
ยางสนข้น
ดอกไม้
ผลกระวานไหญ,
๕
–
๓)
๓
๔
๔
๑
–
–
๒
๓
–
๑
๑
๑
๑
–
๒
๕
๑
๑๐๐
–
๓
๙
๒
๑๒
๓- ๔
๒
๒
๓
๑
๑
๑
๒
๑
๔
๔
๔
๔
๓
๑
๓
๑๒
๑๐๐
๒
ปละ
ปละ
ปรัสถะ
ปริ’สถะ
ปริ’สถะ
บาท
ผล
บาท
บาท
บาท
บาท
ปละ
ตัว
ปละ
ดอก
ปละ
ปละ
ปละ
ปละ
คุทุวะ
บาท
บาท
ฝัก
ปละ
กุทุวะ
12
๒๒ ขิงแห้ง
๒๓ พริกไทยขาว
๒๔ ผักทอดยอด
๒๕ อบเชย
๒๖ กระเทียม
๒๗ มิตรเทวะ
๒๘ พริกขี้หนู
๒๙ พุทรา
๓๐ นาดอกไม้
- ๒
๒ ๒
๒ ๒
๑ ๑ / ๒ ๑
๑ ๑
๑ ๓
๓ –
๑ ๑
- ๓
ปรัสถะ
สรปะ
กำมือ
บาท
บาท
กุทุ วะ
ปรัสถะ
คุทุวะ
กุทุวะ
ปละ
ลูก
กุทุวะ
ตารางเปรียบเทียบสิ่งของที่มอบแก,อาโรคยศาล
ที่ ชื่อส์งของที่มอบ จารึกบานปราสาท จารึกตาเมือนโตจ จารึกพิมาย มาตราวัด ตวง
๑ อาหารโค ๒ ๑ – ปละ
๒ ผ้าลายดอกสีแดง ๑ ๑ – ผืน
๓ ผ้าห่มสีขาว ๖ ๒ – ผืน / คู่
๔ ข้าวบูชาเทวรูป ๑ ๑ – โทรณะ
๔ เสื้อยาว – ๓ – ตัว
๕ ส์งของ(ผ้า)ยาว ๑๐ ศอก ๓ – คู่
๖ ผ้ายาว ๙ คืบ – – ๓ คู่
๗ ภาชนะดีบุก ๙ ๙ ๓ + ๙ ใบ
๘ ข้าวสาร – – ๒ + ๒ กัฏฏิกา
๙ เสื้อผ้ายาว ๑๐ คืบ ชำรุด ๓ ๑๒ คู่
๑๐ เครื่องแต่งตัว ๙ คืบ – ๑๒ ๑๕ คู,
๑๑ เสื้อยาวอีกชุด – – ๓ ตัว
๑๒ ข้าวสารอีก – – ๑๒ ขาริกา
๑๓ กำยาน ๑ ๔ บาท
13
๔ จารึกปราสาทตาพรหม พระเจ้าชัยวรมันที ๗ สร้างเพึออุทิศแก’พระมารดา คือ
พระนางชัยราชจุฑามณี ตามคติของพระพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเปรียบพระองค์เองเหมือน
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เปรียบพระมารดาเหมือนพระนางปรัชญาปารมิตา จากนั้น
ข้อความจารึกกล่าวถึงการสืบเชื้อสายของพระองค์ว’า พระเจ้าชัยวรมันที่ ๓ มีพระราชธิดา คือ
พระนางชัยราชจุฑามณี ซึ่งเป็นมารดาของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ส่วนพระบิดาของพระองค์ คือ
พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ ๒ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ มีพระเชษฐา คือ พระเจ้ายโศวรมันที่ ๒
ต’อจากนั้น ข้อความจารึกตาพรหมได้กล่าวถึงการทำศึกสงครามกับจัมปาจนได้ชัยชนะ
แล้วกล่าวถึงการมอบบุคคลให้ปฏิบัติหน้าที่ดูแลปราสาทว’า ต้องใช้คนและทรัพย์จากหมู’บ้าน
ต่างๆ ถึง ๓,๔๐หมู’บ้าน ใช้คนงานถึง ๗๙,๓๖๕คน ในจำนวนนี้ มีพระผู้ใหญ’ ๑๘รูป
เจ้าหน้าที่ประกอบพิธี ๒,๗๔๐ คน ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ประกอบพิธี ๒.๒๐๒ คน นางฟ้อนรำ
๖๑๕ คน ส่วนทรัพย์สินเครื่องใช้ที่มอบให้แก’วัดมีจานทองคำ ชุดเงินเพชรพลอย ไข’มุก
ล่าง ผ้าคลุม เตียง ร่ม จำนวนมาก ของบริโภคและเครื่องใช้อื่น ๆ เช่น เนย นม นาผึ้ง
นั้าอ้อย ไม้จันทน์ การบูร เสื้อผ้า และ รูปปันต่าง ๆ จำนวนมาก ที่พระองค์ทรงบริจาคให้แก’วัด
แห่งนี้
บทสรุป
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาศิลาจารึกของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ คือ
๑ ทำให้ทราบประวํติโบราณสถานหลายแห่งวา พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เป็นผู้สร้าง
๒ ทำให้ทราบภูมิหลังของการรักษาพยาบาลในสมัยโบราณ
๓ ทำให้ทราบประว์ติของการสร้างพระเทวรูปในสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
๔ ทำให้ทราบขอบเขตความเจริญรุ่งของพระพุทธศาสนามหายานในยุคสมัยนั้น
๕ ทำให้ทราบชื่อสมุนไพรที่ใช้เป็นยาได้ระดับหนึ่ง
๗ ทำให้ทราบประวํติศาสตร์ของอาณาจักรเขมรสมัยโบราณ
14
คำจารึกด้านที
๑ นโม วุทฺธาย นิรฺมฺมาณ ธรุมุมสามโภคมูรุตุตเย
๒ ภาวาภาวทฺวยาตีโต ทวยาตฺมาโยนิราตมกะ
๓ ไภษชฺยคุรุไวฑูรุยฺย ปฺรภราชชินนุนเม
๔ เก[ษมาโรคเยาณิ ชนฺยนฺเต เยนนามาปิ ศฤณฺวตามฺ
๕ ศรสูรฺยฺยไวโนจนจนฺทโรจิะ ศรีจนุทุรไวโรจนโรหิณีศะ
๖ รุชานุธการาปหเราปฺรชานำ มุนีนุทฺรเมโรรุชยตามุปามุเต
๓) อาสีนุนฤปศุศรธรณีนุทฺรวรฺมฺม เทวาตุมชศุศรีชยวรุมฺมเทวะ
๘ ชาโตชยาทิตยปุเรศุวรายำ เวทามฺวไรเกนุทุภิราปฺตราชุยะ
๙ นิศุเศษราชนุยศีโรวตํส ปาทามุวุชสุสํยสิสํหฤตาริะ
๑๐ ปรฺยฺยคฺรหีตสทุคุณรตุนภูษำ ยตุกีรุตุดิหารำ วสุธางฺคนำยะ
๑๑ สทามุทาวรฺทฺธิตทานวารี สุสทานวรุทฺธิปฺรียสํปทาฒฺยะ
๑๒ อิษฺฏยาหไวะ กฺลิษฺฏสุราริกานุโต ยะกฤษฺณกลฺโปปฺยวทาตวรุณะ
๑๓ โยภฺยรฺ ถิตำภู ปติภิรฺ ทุรา ปา ลกุษฺมีมุเปกุษฺยสวยมภฺยุเปตามุ
๑๔ ทิกฺษุทฺรุตำ หลาทยดิ สุมกีรฺตฺติ มโหวิจิตรารุจิรินุทริยาณามุ
๑๔ ยํวีกฺษฺย ธามฺนาวิชิเตปิ นาเถ วุทุเธววกานุตเยา วิชิตฌฺจกามมุ
๑๖ ศุจนุตฺยชนฺโตฺยนิชนามสารุถํ วนุทีกฤตาริปฺรมทาะ ปฺรจกุรุะ
๑๓) ปุณฺยายุษะ กุษีณตยายุเคนุเตย กุษยงฺคตายำกุษยวตุปฺรชายาม.
๑๘ ปฺรชาปติะ ปฺราคุยุควตุวิเตเน โยภฺยุตุธิรฺติปูรุณวฤษำ สมฤทธามุ
๑๙ ปฤทฺธฺยา สุวรุคฺคีกฤตำปฤถฺวิ มตุวามรณพูษตามฺ
๒๐ มรุตยานามมรตฺวาย โยทิศทฺเภษชามฤตมฺ
๒๑ ปุษฺยงฺกฤตีกฤตีกฤคุย ปูรุณางฺคํ โยกโรทุวฤษมุ
๒๒ ราชไวทยาจิกิตุสุยางฆริ ภงฺคนุตริยุคโทษตะ
๒๓ ชิตฺวานุยโคปติวฤษํ ไสุวรนุตริภุวนางคเน
๒๔ ชฤมุภเต นินทนุธีรํ วฤโษยตุปุษุกลีกฤตะ
ด้านที่ ๒
๑ เทหินานุเทหโรโคย ยฺมโนโรโครุชตุตรามุ
๒ ราษฺฏรทุะข0หิภรุตฤณา นุทุะขนุทุะขนุตนาตุมนะ
๓ อายุรุวฺเวทาสุตฺรเวเทษุ ไวทุยวำรรุวฺวิศารไทะ
๔ โยฆาตยทฺราษฺฏรรุโช รุชารีนุเภษชายุไธะ
๕ สรุวฺเวษามปราธามุย สุสรุวฺวตะ ปริโศธยมุ
๖ ยุคาปราเธน รุชา มปราธานุยวฺยโศธยตุ
๓) สาโรคยศาล0 ปริโต
๘ สารฺทฺธณฺชิเนารสาภฺยำย
ไกษชุยสุคต0วฺยธาตุ
สฺสทาศานฺไตุยปฺชารุชามฺ
๙ สวฺยธาทิทมาโรคุย ศาล0 สสุคตาลยมฺ
๑๐ ไภษชฺยสุคตฌฺโปึปา เทหามวรหฤทินฺทุนา
๑๑ โส ติษฺฐิปทิเมาจาตุร โรคิณำ โรคฆาติเนา
๑๒ ศรมนุเตาสูรุยฺยจนฺทุราทิ ไวโรจนชินาตุมเชา
๑๓ จิกิตุสุยา อตุรจตุวาโร วรุณา เทฺวา ภิษเชา ตโยะ
๑๔ ปุมาเนกะ สุตริเยาจเทฺว เอกศะ สุฐิติทายิเนา
๑๔ นิธิปาเลาปุมางฺเสา เทวา เภษชานำ วิภาชเกา
๑๖ คุราหเกา วฺรีหิกาษฺฐานา นุตทุทายิกยะ ปุรติษฺฐิเตา
๑๓) ปาจเกา ตุปุมาง.เสาเท.วา ปาไตไธทกทายิเนา
๑๘ ปุษฺปทรฺภหเราเทว วสเตศฺจ วิโศธเกา
๑๙ เท[วายชุญทาริเณาปตุตุร กาเราปตุตุรศลากโยะ
๒๐ ทาตาราวถไกษชุย ปาเกนฺธนหเราวุเภา
๒๑ นราศฺจตุรุทศาโรคุย ศาลา สํรคุษิณะ ปุนะ
๒๒ ทาตาโรเภษชานาฌฺจ มิศฺราทุวาวึสดิสุตุเต
๒๓ เตษาเมโกนโรนารี ไจกศะ สุฐิติทายินะ
๒๔ วารีสนฺตาปไภษชุย เปษการุยฺยสุตุษฏสุตุริยะ
คำจารึกดานที่ ๓
๑ เทวตุวฺริหฺยวฆาตินฺเยา ตาอษฺเฏาปินุทิตาะ สตริย
๒ ตาสานฺตุสุฐิติทาขินฺยะ ปุรตุเยก0 โยษิตาวุเภ
๓ ปุนะ ปินฺทีกฤตาสุเตตุ ทวาตรึศตุปริจารตาะ
๔ ภูโยษฺฏานวสิสุสรุวฺเว ปินุทิตาสุสุฐิสิไทสุสมา
๕ ตนฺทุลาเทวปุชางฺคา เอกโท.รณา ทิเนทิเน
๖ เศษายชุญาะ ปุรทาตวฺยา โรคิก.ยะ ปฺรสิวาสรม.
๗ ปฺรติวรุษนฺตุริท0 คราหฺยํ ตริษ.กฤต.โวภูปเตรุนิเธะ
๘ ปุรตฺเยกณฺไจตุรปุรุณม.ยำ ศฺราทฺเธจาปฺยุต.ตารยเณ
๙ รก.ตานุตชาลวเสน เมกเธาตาม.รานิษฺฏ
๑๐ เทุว โคภิคุเษ ปฌฺจปล0 ตก.ก0 กฤษณา จ ตาวดี
๑๑ เอกะ ปฌฺจปลสุสิคุฐ ทีปเอก ปลาะ ปุนะ
๑๒ จตุวาโร มธุนะ ปฺรสุฐา ส.ต.รยะ ปุรส.ฐาสุดิลสุย
16
๑๓ ฆฤต0 ปฺรสุโฐถไภษชฺยํ ปิปุปลิเรณุทีปุยกมฺ
๑๔ ปุนฺนาคฌฺเจกศะ ปาท ทวยณชาติผลตรยมุ
๑๔ หิงฺคุกุษารํ โตตถชีรณ เมไกกฌฺไจกปาทกมฺ
๑๖ ปฌจวิม….. ตกปรํ ศรฺกฺกรายาะ ปลทฺวยมฺ
๑๓) ทงทงฺสาขเยางฺจราะ ปฌฺจาขฺยาตา อไถกศะ
๑๘ ศรึวาสนฺจนฺทนนฺธานฺย0 ศตปุษฺป้ ปลํ สุมฤตมฺ
๑^ มริจํ…………………..
๒๐ ปฺตฺเยกเมกศะ ปฺรสฺเฐา เทวาปุรจีวลสรฺษุปเปา
๒๑ ตฺวกุสารฺทุธมุษฺฏิะ ปถฺยาสต จตุวาริงฺศตปรกลุปิตาะ
๒๒ ทารฺวฉิทาทฺวยณฺจาถ สารฺทฺไธกปลเมกศะ
๒๓ กนฺทงฺหลายฺชนฺสยงฺเทว ทารุจฺฉวฺยํ ปุรกลุปิตมฺ
๒๔ เอกปาไทก ปลโก มิตุตุรเทวะ ปฺรกลุปิตะ
คำจารึกด้านที่
๑ อไถกโศมธุศุทุเธา ลุทุวตฺรยมานิเตา
๒ เอกะ ปุรสุฐสุตุเสาวีร นิรสุยปริกลุปิตะ
๓ เทวายาจเกา ตทคณก ไค[จกสุเต ธรฺมฺมธาริณะ
๔ ตฺรโยนิโยชฺยาศฺศรราช วิหาราธุยาปเกน จ
๕ วรฺเษวรฺเษตฺวิทนฺเตษุ ปฺรตฺเยกํปริกลุปิตมฺ
๖ … ตาวปาโตยทวาทศ ยุคาทศกราะ ปทาะ
๓) … ท นวหสตานา วาสสานุทศปฌฺจ จ
๘ กฎฏิก0 ปุนะ ปาตุร ตริตุยนุตรา ปุษ0 สมฤตมฺ
๙ ….เทยาทฺวาทศขารฺยฺยศฺจ ตนุทุลานามไถกศะ
๑๐ ………… ตกเกตริปลเก เทเยกฤษฺณาตุษฏปลา
๑๑ วทนฺยวฤนฺทาคุรสโรปิราชา ปุรชารฺถจินุตาชนิตารฺถภาวะ
๑๒ ภูโยปุยเสายาจตอิตุยชสุรํ ปุรทิตุสตะ กมฺวุชราชสึหานุ
๑๓ กฤต0 มไยตตฺสุกฤตํ ภวทฺภิ สฺสํรกษณีย0 ภวทียเมตต
๑๔ ปุณฺยสฺย กรฺตุะ ผลภากฺปุรกฺษฏํ สํรกุษิเตตุยุกฺตมิทํ ห วฤทฺไธ:
๑๔ โยราชธานฺยานฺนิหิตะ ปฺรภุเตฺว สนุตรสเอวาตฺรนิโยชนียะ
๑๖ น เปุรษิตวฺยา อิหกรฺมฺมการาะ กราทิทาเนษุนจานฺยการฺยฺเย
๑๓) ปฺรตฺยคุรโทษา อปิเทหินสฺเต นทณฺฑานียา อิห เยปฺรริษฺฏา
๑๘ เต ทณฺฑานียาสตนมรฺษณียา ยา ปุราณี หึสานิรตา อิหสุฐา
17
๑&
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒(๔
๒๖
ชคทธิตาตุยรฺถตฤษฺสฺสราชา
ภวาวฺธิมคุนาฌฺชานตำ สมสุตา
เย กมฺวุเชนฺทุราะ กุศลานุรคุตา
เต สานฺวยานฺตะ ปุรมนุตริ
นานาทิวฺยางฺคนาภิรฺวฺวิจิต
รฺทิเวฺยยุรฺทิวฺยเทหา ทิวิ
ทารฺฒฺยนุนีตฺวาสมนุตาท
เยนิเศฺรณี กริษุยนฺตฺย
ปุนรฺวภาเษปุรณิธานเมตตฺ
มุตตาร เยยํ สุกฤเตน เตน
อิมำ ปุรตอษฺฐำ มม รคุษิตาระ
มิตฺตฺรานิรามยํ โมกษปุรํ ลเภรนุ
รติภิรฺภูริทิโวฺย ปโภไค
ทิดิทนุชำสฺเตชสำ เตชยมุตะ
จลิตมนิสํรคุษยาสวะ ปฺรยาเณ
กุศลทลนํ ปุณฺยเมตนุมทียมฺ 0๐
โศลกที่ ๑
โศลกที่ ๒
โศลกที่ ๓
โศลกที่ ๔
โศลกที่ ๕
โศลกที่ ๖
โศลกที่ ๗
โศลกที่ ๘
คำแปลด้านที่ ๑
ขอความนอบน้อมจงมีแก’พระพุทธเจ้า ผู้มีนิรมาณกายธรรมกายและส้มโภคกาย ผู้ล,วง
พ้นภาวะและอภาวะทั้งสอง ผู้มีอาตมันเป็นเป็นสอง และผู้หาอาตมันมิได้
ข้าพเจ้าขอนมัสการพระชินะ ผู้เป็นพระราชาแห่งรัศมี คือพระไภษัชคุรุไวทูรยะ เพราะ
พระองค์ จึงเกิดความเกษม และความไม’มีโรคแก’ประชาชน ผู้ฟังอยู’แม้เพียงชื่อ(ของ
พระองค์)
พระศรีสูรยไวโรจนจันทโรจิ และพระศรีจันทรไวโรจนโรหิณีศะ ผู้ขจัดความมืดคือโรค
ของประชาชนขอจงชนะที่เชิงเขา คือ (พระบาทของ)พระพุทธเจ้า
ได้มีพระเจ้าแผนดินองค์หนงนามวา ศรีชัยวรมัน ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าธรณีนทรวรมัน
ผู้ประสูติแต’เจ้าหญิงแห่งเมืองชยาทิตยปุระ ผู้ได้รับราชสมปติเพราะพระจันทร์ที่ประเสริฐ
บนน้องฟ้า คือ พระเวท
พระองค์ผู้มีพระบาทเหมือนดอกบัว เป็นเครื่องประดับเหนือเศียรของพระราชาทั้งหลาย ผู้
มีศัตรูที่พระองค์ทรงชนะแล้วในสงคราม ไต้รับแล้วซํ่ง สตรีคือแผ่นดิน ผู้นำไปซ็งเกียรติ
ของพระองค์ ผู้มีรัตนะ คือ คุณความดีเป็นเครื่องประดับ
ผู้มีสายนํ้าคือทานที่พระองค์ให้เพึ่มขึ้น ด้วยความเพลิดเพลินในกาลทุกเมื่อ ผู้มั่งคั่งด้วย
ทรัพย์สมบัติ คือทานและความเจริญรุ่งเรือง ผู้เป็นที่รักแห่งศัตรูของเทพที่พระองค์ทรงให้
ลำบากแล้วด้วยเครื่องสังเวย แม้เป็นเหมือนพระกฤษณะแต’มีวรรณะขาว
พระองค์ยังลักษมี ผู้อันพระราชาทั้งหลายปรารถนาแล้ว แต่ได้โดยยาก ผู้ทรงอุเบกขา ซง
เข้ามาใกล้แล้ว และยังนางกีรติผู้ท’องไปในทิศทั้งหลายให้ยินดีแล้ว ช’างน’าอัศจรรย์จริง
หนอ ความงามอันวิจิตรแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย
สตรีทั้งหลาย ผู้มีสัตรูอันตนไหว้แล้ว แม้สามีพายแพ้(ลูกชนะ)แล้ว เพราะรัศมีขณะที่เห็น
พระองค์ได้สละความโศกเศร้า เพราะรู้วาแม้กามเทพก็พายแพ้ตอความงามของพระองค์
รึงได้กระทำนามของตนให้มีความหมาย
18
โศลกที่ ๙
โศลกที่ ๑๐
โศลกที่ ๑๑
โศลกที่ ๑๒
โศลกที่ ๑
โศลกที่ ๒
โศลกที่ ๓
โศลกที่ ๔
โศลกที่ ๕
โศลกที่ ๖
โศลกที่ ๗
โศลกที่ ๘
โศลกที่ ๙
โศลกที่ ๑๐
โศลกที่ ๑๑
เมื่อประชาชนมีโรคประสบความหายนะ ตามภาวะแห่งกรรมด้วยการสิ้นบุญแห่งอายุ
พระองค์ผู้เป็นพระราชา ได้สร้างโคที่สมบูรณ์ทั้งสาม เพื่อประกาศยุคอันประเสริฐ
พระองค์คิดแล้ววา แผนดินถูกทำให้เป็นสวรรค์ด้วยความรุ่งเรือง ทั้ง ๆ ที่ถูกทำให้สกปรก
ด้วยความตาย จึงแนะนำนํ้าอมฤต คือเภษัชแก’มนุษย์ผู้ที่จะต้องตายเพื่อความไม,ตาย
พระองค์ประสบความสำเร็จ ด้วยการกระทำกิจที่ควรกระทำ คือได้กระทำกลียุคให้เป็นโคที่
มีขาหักแล้วเพราะโทษแห่งยุคทั้งสามให้มีร้างกายเต็มบริบูรณ์ด้วยรักษาของแพทย์หลวง
เพราะโคนั้น ถูกทำให้สมบูรณ์แล้ว หลังจากชนะโคของเจ้าเมืองอื่น ๆ จึงแผดเสียงร้อง
กึกก้อง จนปรากฏในสามโลกด้วยความทรนง
คำแปลด้านที่ ๒
โรคทางกายของปวงชนนี้ เป็นโรคทางจิตที่เจ็บปวดยี่ง (ของเจ้าเมือง) เพราะความทุกข์ของ
ราษฎร แม้มิใช’ความทุกข์ของพระองค์ แด’เป็นความทุกข์ของเจ้าเมือง
พระองค์พร้อมด้วยแพทย์ทั้งหลายผู้กล้าหาญ และคงแกเรียนทั้งอายุรเวททั้งอัสดรเวท ได้
ฆ’าศัตรู คือโรคของประชาชนด้วยอาวุข คือ เภษัช
เมื่อพระองค์ได้ชำระล้างโทษของประชาชนโดยทั่วถึงแล้ว ได้ชำระล้างโทษของโรค
ทั้งหลาย ด้วยโทษแห่งยุค
พระองค์ได้สร้างสถานพยาบาล และรูปพระโพธิสัตว์ไภษัชยคุรุสุคต พร้อมกับรูปพระ
ชิโนรสทั้งสองโดยรอบ เพื่อระงับโรคของประชาชนตลอดไป
พระองค์ได้สร้างสถานพยาบาลหลังนี้ และรูปพระโพธิสัตว์!ภษัชยคุรุสุคต รวมทั้งวิหาร
ของพระสุคต ด้วยดวงจันทร์ คือ พระหฤทัยในท้องพ้เา ได้แกพระวรกายอันละเอียดอ’อน
พระองค์ไต้สร้างรูปจำลองพระไวโรจนชินเจ้าที่ขึ้นด้นด้วยสูรยะและจันทนะอันงดงามนี้
ให้เป็นผู้ทำลายโรคที่ประชาชนเป็นกันอยูในที่นี้
เพื่อการรักษาพยาบาลในสถานที่นี้จึงให้มีผู้ดูแลสี่คน แพทย์สองคน บรรดาเจ้าหน้าที่
ทั้งหลาย มีสามคนคือ บุรุษหนํ่งคน สตรีสองคน เป็นผู้ให้สถิติ
ผู้มอบสถานพยาบาลหลังนี้ได้แตงตั้งบุรุษสองคน ให้เป็นผู้ดูแลรักษาทรัพย์ เป็นผู้จ’ายยา
และเป็นผู้รับข้าวเปลือกพร้อมทั้งฟืน
ส่วนบุรุษอีกสองคนเป็นผู้หุงต้ม เป็นผู้ดูแลรักษาและจายนํ้าในสถานที่นี้ ทั้งเป็นผู้หา
ดอกไม้และหญ้าบูชายัญ รวมทั้งเป็นผู้ทำความสะอาดเทวสถาน
บุรุษอีกสองคนเป็นผู้จัดพลีทาน เป็นผู้ทำบัตร จ’ายบัตรสลาก รวมทั้งเป็นผู้หาฟืนเพื่อต้มยา
บุรุษทั้งสิบสี่คนเป็นผู้ดูแลรักษาสถานพยาบาล และเป็นผู้ส่งยาแก’แพทย์ จึงรวมเป็นยี่สิบ
สองคน
19
โศลกที่ ๑๒
โศลกที่ ๑
โศลกที่ ๒
โศลกที่ ๓
โศลกที่ ๔
โศลกที่ ๕
โศลกที่ ๖
โศลกที่ ๗
โศลกที่ ๘
โศลกที่ ๙
โศลกที่ ๑๐
โศลกที่ ๑๑
โศลกที่ ๑๒
โศลกที่ ๑
โศลกที่ ๒
โศลกที่ ๓
บรรดาบุคคลเหล,านั้น รวมทั้งบุรุษคนหนึ่งสตรีคนหนึ่ง แต,ละคนเป็นผู้ให้สถิติ ส่วนสตรี
อีกหกคนเป็นผู้โม!,ภษัชที่สันดาปด้วยนํ้าแล้ว
คำแปลด้านที่ ๓
ส่วนสตรีอีกสองคนเป็นผู้ตำข้าว สตรีเหล,าทั้นรวมเป็นแปดคน บรรดาสตรีที่ให้สถิติ
เหล,าทั้น แต้ละวันใช้สตรเพียงสองคน
ส่วนบุรุษธุรการนับรวมกันไต้สามสิบสองคน รวมคนทั้งหมดได้เก้าสิบแปดคน ซํ่งเป็น
เชนัเดียวกับผู้ให้สถิติ
ข้าวสารสำหรับเป็นเครื่องบูชาเทวรูปวันละหนึ่งโทรณะทุกวัน เครื่องพลีทานที่เหลือ พึงจัด
ให้แก’ผู้มีโรคทุกวัน
ทุกปี สึ่งเหล,านี้ควรลือเอาจากคลังของพระราชาสามเวลา แต,ละอย,างควรให้ในวันเพ็ญ
เดือนไจตระ และในพิธีศราท ในกาลที่พระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศเหนือ
เครื่องนุ่งห,มที่มีชายสีแดงหนงผืนผ้าสีขาวหกผืน อาหารโคสองปละ เทียนไขห้าปละเทา
กับปฤษณาเป็นสี่งที่ควรให้ทุกวัน
เทียนขี้ผึ้งอีกเจ็ดปละ (คือ หนงปละ ห้าปละ และหนํ่งปละ) นํ้าผึ้งสี่ปรัสถะ นํ้ามัน
สามปรัสถะ เป็นสิ่งที่ควรให้ทุกวัน
เนยใสหนํ่งปรัสถะ เภษัชที่ทำให้ร้อนด้วยพริกผง และบุนนาคก็เทากัน แต,ละอยางหนัก
สองบาท และจันทน์เศสามผล
มหาหิงคุ เกลือ ผลกระวานเล็ก และกำยาน แต, ละอยางหนักหนงบาท ห้านํ้าตาล
กรวดสองปละ
แด’ละอย่างมีสัตว์ที่ชื่อวา เหลือบนับให้ไต้ห้าตัว ไม้จันทน์ ยางสนข้น และเมล็ดธานี
ดอกไม้หนงร้อยดอก รวบรวมให้ได้หนงปละ
พ ร ิ ก ไ ท ย แ ด ‘ ล ะ อ ย ่ า ง ส อ ง ป ร ั ส ถ ะ แ ล ะ ผ ั ก ท อ ด ย อ ด ส อ ง ป ล ะ
อบเชยหนึ่งกำมือครื่ง ส่วนใบไม้กำหนดให้มีสี่สิบใบ ทารวเฉทสอง(น’าจะหมายถึงด้น
เทพทาโร) แต’ละอย่างให้หนักหนํ่งปละครื่ง
นํ้ากะเทียมรวมทั้งเปลือก ตามที่กำหนดไว้มิตรเทวะ กำหนดไว้หนึ่งบาทกับหนึ่งปละ
คำแปลด้านที่ ๔
สิ่งของแต’ละอย่าง มีนํ้าผึ้งและพริกขี้หนูนับได้สามกุทุวะ ส่วนพุทรากำหนดไว้หนึ่งปริ’สถะ
ผู้ประกอบพิธีบูชายัญสองคน ผู้เป็นโหราจารย์หนึ่งคน คนทั้งสามเหส่านั้น ต้องเป็นผู้ทรง
คุณธรรมอยูในการบัญชาของบรมครูแห่งศรีราชวิหาร
บรรดาสิ่งเหลานั้น แต้ละอย่างที่ควรให้ ได้กำหนดไว้ทุกปี (ผ้า)ยาวสิบศอกจำนวน
สิบสองคู’
20
โศลกที ๔
โศลกที่ ๕
โศลกที่ ๖
โศลกที่ ๗
โศลกที่ ๘
โศลกที่ ๙
โศลกที่ ๑๐
โศลกที่ ๑
โศลกที่ ๑๒
โศลกท ๑๓
ผ้ายาวเก้าคืบจำนวนภาชนะดีบุกทีเหมาะสม ซึงบรรจุไต้สิบกัฏฏิกา และห้ากัฏฎิกา
จำนวนเก้าใบ
แด’ละอยาง มีข้าวสารจำนวนสิบสองขาริกาเทียนไข ที่ควรให้จำนวนสามปละ ส่วน
กฤษณาจำนวนหกปละ
พระราชาแม้เป็นผู้นำในหมู’ผู้มีจิตใจโอบอ้อมอารีทั้หลาย ผู้มีความคิดที่ต้องการกระทำให้
เกิดขึ้น เพราะความห,วงใยในประโยชน์ของประชาชน พระองค์จึงได้ขออยู’เสมอกับพระ
ราชสิงหะแห่งเมืองกัมพุและพระองค์ผู้ประเสริฐได้ประทานให้แล้ว
สื่งที่ข้าพเจ้าไต้กระทำแล้วเป็นสึ๋งที่กระทำดีแล้ว สื่งนี้เป็นของห่านอันห่านทั้งหลายพึง
รักษา เพราะ สี่งนี้นักปราชญ์ทั้งหลายกลาววา ผู้รักษาเป็นผู้มีส่วนแห่งผลที่ยอดเยี่ยมของ
ผู้กระทำบุญ
มนตรีใดอยูไนราชธานี มนตรีคนนั้นเอง ควรได้รับการแตงทั้งในตำแหน่งผู้ปกครอง
เจ้าหน้าที่ในที่นี้ เจ้าหน้าที่อื่นไม,ควรถูกส่งมาที่นี่ รวมทั้งการเก็บภาษีและงานอื่น ๆ ด้วย
ชนเหส่าใดเข้ามาในที่นี่ ชนเหส่านั้นแม้จะมีโทษหนัก ก็ไม,ควรถูกลงโทษ แต,ชนเหส่าใด ที่
อาศัยอยู่ที่นี่ ชอบทำร้ายผู้อื่น ชนเหส่านั้นควรถูกลงโทษ และไม’ควรยกโทษให้
พระราชาพระองค์นั้น ผู้ปรารถนา(จะมอบ)ความสุข และประโยชน์อย’างยึ๋งแก’ชาวโลก ได้
กล’าวคำปณิธานนี้อีกครั้งหน์งวา พระจะยังสรรพสัตว์ทั้งหลายที่จมลงในมหาสมุทร คือ ภพ
ให้รอดพ้นไปได้ด้วยการกระทำความดีนั้น
เจ้าแห่งกัมพุเหส่าใดที่ใส’ใจต’อกุศล เป็นผู้รักษาคุ้มครองสึ๋งประดิษฐ์นี้ของข้าพเจ้า เจ้า
แห่งก้มพุเหส่านั้น พร้อมด้วยครอบครัวและมนตรีในเมืองที่เป็นมิตร จงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วย
โมกษะ อันเป็นบรมสุข
ด้วยเครื่องอุปโภคที่เป็นทิพย์มากมาย อันเป็นที่เพลิดเพลิน ตกแตงด้วยนางเทพธิดาต,าง ๆ ที่
ยินดีด้วยความสุข เขาเหส่านั้นจะชนะยักษ์ทั้งหลายด้วยอำนาจกายทิพย์และจะรุ่งเรืองใน
สวรรค์
ห่านผู้ไม’มีอะไรเป็นของตนเอง หลังจากได้นำสึ่งที่ไม’มั่นคงไปสู่ความมั่นคงในอนาคต
พึงรักษา(ความดีนี้)ไว้ทั้งกลางวันและกลางคืน ส่วนผู้ที่คิดจะทำลายอกุศลให้เป็น(ฐาน)
ของชีวิต ข้อนี้นับวาเป็นบุญของข้าพเจ้ายึ่งแล้ว
๐๐๐
21
ประวัติวิทยากร
นายชะเอม แก้วคล้าย
๑ มาตุภูมิ บ้านหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
๒ ป้จจุบัน บ้านเลขที่๓/๒๕ซอย ๒๐ถนนบรมราชชนนีเขตตลี่งชันกรุงเทพฯ๐๑๗๐
โทรศพท ๐๘๖๐ ๗๗๓๐๖ ธ!!1311 : 0๖331110.ธ@2111311.00111
๓ ประวํติการศึกษา
๒. เปรยญธรรม๖ ประโยค สำนักวัดคูหาสวรรค์ จังหวัดพัทลุง
๒.๒ พุทธศาสตร์บัณฑิต สาขาปรัชญาศาสนา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒.๓ 1ฬ..ภาษาสันสกฤตและจารึก มหาวิทยาลัย พ.4๖01).^ ประเทศอินเดีย
๔ ป๋ขิขิบัน ข้าราชการบำนาญ
กรรมการวิชาการราชบัณฑิตยสภา
อาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กรรมการตรวจแบบเรียนวิชาภาษาไทยของ สพฐ.
กรรมการคัดเลือกหนังสืออ,านนอกเวลาระดับประถมและมัธยมของสพฐ.
กรรมการพิจารณาตัดสินการประกวดหนังสือสารคดีดีเด,นแห่งชาติ
กรรมการที่ปรึกษาสำนักวิจัยธรรมชัยนานาชาต
กรรมการผลิตตำรามหายานของคณะสงฆ์จีนนิกาย
๕ อดีต ข้าราชการนักอักษรศาสตร์ ๙ (ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาโบราณ) กรมศิลปากร
กรรมการที่ปรึกษาชำระตำราแพทย์แผนไทยคณะพยาบาลศาสตร์ คิริราชพยาบาล
อาจารย์พิเศษที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อาจารย์พิเศษแพทย์แผนไทยประยุกต์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
๖ ผลงานวิชาการ
๑) ผลงานเขียน แปล เกี่ยวกับศิลาจารึก ศาสนา และพจนานุกรม เป็นหนังสือ ๑๘ เรื่อง
๒) ผลงานเขียนเป็นบทความเกี่ยวกับจารึก ศาสนา และ บทวิทยุภาษาถี่น รวม ๓๔๐ เรื่อง